การซ่อมแซมสายพานลำเลียง
การซ่อมแซมสายพานลำเลียง
สามารถทำการซ่อมแซมสายพานลำเลียงได้ 3 ประเภทด้วย R-Flex ของเดฟคอน
ประเภทที่ 1 การซ่อมแซมสายพานที่เกิดรูหรือบริเวณที่เศษวัสดุลงไปติดอยู่ระหว่าง wiper กับสายพานลำเลียงทำให้เกิดการเสียดสีและฉีกขาด
ประเภทที่ 2 การซ่อมแซมรอยต่อระหว่างสายพานที่ต่อกันโดยใช้ความร้อนช่วยและใช้แม็กซ์ยิงบริเวณที่สึกกร่อน
ประเภทที่ 3 การซ่อมแซมการเกิดการสึกกร่อน บริเวณแนวของสายพานลำเลียงโดยใช้ผลิตภัณฑ์ R-Flex
ในการซ่อมแซมทั้ง 3 ประเภทด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. การเตรียมพื้นผิว ทำตามขั้นตอนการทำความสะอาดพื้นผิวยางในหมวดการเตรียมพื้นผิว จำไว้ว่าให้ขัดบริเวณสายพานให้สะอาดและหยาบเพื่อให้ R-Flex สามารถยึดติดได้ดี
***สำหรับการฉีกขาดหรือรูในสายพาน ก่อนอื่นต้องใช้เทปพันท่อข้างใต้สายพานเพื่อกั้นไม่ให้ R-Flex ไหลผ่านจากนั้นทำความสะอาดบริเวณดังกล่าว (Figure 2)
2. ผสม R-Flex (รุ่น 15565) ให้ทั่วโดยรอบประมาณ 4-8 นิ้ว (Figure 3)
3. ทา R-Flex ให้เสมอเรียบกับพื้นผิวเดิม ไม่ให้พื้นผิวสายพานนูนและควรใช้ R-Flex ที่ความหนาอย่างน้อย 3 มิล ให้ทั่วสายพานเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและยืดหยุ่น (Figure 4)
4. สำหรับการซ่อมแซมบริเวณรอยต่อให้ใช้แปรงขัดเพื่อขจัดสิ่งสกปรกให้สะอาดและหยาบควรขัดให้เกินบริเวณโดยรอบเกินประมาณ 4-8 นิ้ว
5. ขั้นต่อไปเตรียมผิวให้สะอาด
6. ผสม R-Flex แล้วโป๊วให้ทั่วบริเวณรอยต่อให้แน่ใจว่าได้กดอัดแน่นขณะทา R-Flex พัน R-Flex กลับบริเวณที่เตรียมไว้ประมาณ 4-8 นิ้ว และทาให้เสมอเรียบกับรอยพื้นผิวเดิม ทาด้วยความหนา 3 มิล เพื่อความแข็งแรง
มาตรฐานสากลต่างๆ
• COMMON SAFETY STANDARDS มาตรฐานสากลของอุปกรณ์เซฟตี้ |
• EUROPE INCLUDING UK มาตรฐานสากลประจำยุโรปและอังกฤษ • EN - European Norm • EN 345 : Safety Boot & Shoes • EN 659 , EN 511 Gloves use for Heat and Cold • EN 50321 : Standard to Electrical Safety • EN 943 : Chemical Permeation • 3rd PARTY TESTING การรับรองมาตรฐานจากสหภาพยุโรป • CE - Certified test Mark |